อย่าให้เหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นกับคุณ!

ฟิชชิ่ง (Phishing) หรือการถูกโจรกรรมเงินจากแฮกเกอร์

หากคุณคือคนที่ทำธุรกรรมทางการเงินผ่านออนไลน์ โอนเงิน จ่ายสินค้าสแกนผ่าน QR Code หรือใส่บัตรเครดิตไว้ในแอปพลิเคชั่นต่างๆ คุณคือบุคคลที่มีความเสี่ยงกับการถูกโจรกรรมเงินทางอินเทอร์เน็ต เช่น การถูกขโมยเงิน หรือถูกหลอกให้โอนเงินให้บุคคลอื่นที่เราไม่รู้จัก 

1.1 โดนแฮกบัตรเครดิต

การถูกแฮกบัตรเดรดิตมีได้หลายกรณี เพราะมิชชาชีพแฝงตัวอยู่ในหลายช่องทาง เราต้องระมัดระวังและหลีกเลี่ยงการกระทำที่มีความเสี่ยงซึ่ง เราได้รวบรวมมาให้แล้ว มาดูกันว่าสาเหตุเกิดจากอะไรบ้าง

  • โทรศัพท์ล่อลวงขอเลข OTP ให้เหยื่อบอกข้อมูลบัตรเครดิต โดยเฉพาะเลข OTPโจรโทรไปอ้างว่าจะคืนเงินค่าสินค้าให้ โดยหลอกว่าจะส่ง OTP ไปที่เบอร์มือถือของลูกค้า และให้ลูกค้าบอก OTP ไป
  • หลอกเอาข้อมูลบัตร โจรอาจจะสวมรอยเป็นธนาคาร โทรมาแจ้งเหยื่อว่ามีการขอเปลี่ยนเบอร์โทรศัพท์มือถือที่ผูกกับบัตรเครดิต และหลอกขอข้อมูลบัตรเครดิตผ่านทางโทรศัพท์  

กรณีตัวอย่างที่ได้รับความคุ้มครอง

1.2 โดนขโมยเงินออกจากบัญชี

มิชฉาชีพมีอยู่รอบตัวเราและสิ่งสำคัญที่สุดในการป้องกันเงินในบัญชีไม่ให้ถูกขโมย เราต้องมีสติอย่าหลงเชื่อใครง่ายกรอกข้อมูลส่วนตัว รวมไปถึงการทำธุรกรรมการเงินผ่านช่องทางต่างๆ ด้วย ซึ่งเราได้รวม ข้อควรระวังมาให้ทุกคนแล้ว 

  • ไม่ใส่รหัส Pins เข้าแอปพลิเชั่นแบบที่คาดเดาได้ยาก ไม่ควรใส่วันเกิดและไม่บอกรหัสให้ใครทราบ
  • ตั้งค่าแจ้งเตือนความเคลื่อนไหวการทำธุรกรรม

กรณีตัวอย่างที่ได้รับความคุ้มครอง

1.3 Email Phishing, SMS

อีเมลหลอกลวงให้กรอกข้อมูลส่วนตัว เพื่อสร้างความเสียหายทางด้านการเงิน หรืออาจถูกหลอกเอาข้อมูลบัตรเครดิต โดยมิชฉาชีพจะใช้ อีเมล หรือ E-mail phishing ปลอมซึ่งอาจตั้งหัวข้อให้น่าเชื่อถือแล้วเราก็อาจจะหลงกลนี้ได้ อีกสิ่งที่ต้องระวังคือ การเชื่อมต่อ ไวไฟฟรีทั้งหลายที่ public wifi (ที่ไม่มีสัญลักษณ์แม่กุญแจ) ไวไฟเหล่านี้ก็ไม่ปลอดภัย ต้องระวังให้มาก

กรณีตัวอย่างที่ได้รับความคุ้มครอง

นักช้อปออนไลน์ (Shopper) – ซื้อของแล้วไม่ได้ของ

ช้อปปิ้ง ออนไลน์เก่ง ความเสี่ยงใกล้นิดเดียว ไม่ว่าคุณจะซื้อสินค้าผ่านออนไลน์ช่องทางอินเทอร์เน็ตใดก็ตาม เมื่อทำการจ่ายเงินไปแล้ว แต่ไม่ได้รับสินค้า ติดต่อแม่ค้าไม่ได้ แม่ค้าไม่ส่งของให้ตามเวลาที่แจ้งไว้ ภายใน 30 วัน คุณกำลังโดนโกง! 

ซื้อของไม่ได้ของ

2.1 ซื้อของไม่ได้ของ

สั่งของผ่านช่องทางออนไลน์ โอนเงินให้แม้ค้าแล้วแต่ก็ไม่ได้สินค้า รอแล้วรออีกของก็ยังไม่ได้ หนำซ้ำติดต่อแม่ค้าไม่ได้อีกช้ำใจแบบคูณสอง เรื่องซื้อของออนไล์ผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียต่างๆ อย่าง ทวิตเตอร์ เฟสบุ๊ค อินสตราแกรมต้องระวังสุด

กรณีตัวอย่างที่ได้รับความคุ้มครอง

แม่ค้าออนไลน์ (Seller) – ขายของแต่ไม่ได้เงิน

ขายของตั้งนานกว่าจะได้เงินแต่ละบาทแสนยากเย็น ส่งสินค้าให้ลูกค้าแต่ลูกค้าไม่โอนเงินให้ เหล่าแม่ค้ามารวมตัวกันตรงนี้ ขายของแล้วแต่ไม่ได้รับเงิน ต้องมีประกันภัย ช้อปปิ้งออนไลน์ คุ้มครองไว้ลดความเสียงให้กับตัวเองดีกว่า เพราะคุณจะได้รับการคุ้มครองทันที ในกรณีที่คุณแม่ค้าถูกหลอก ให้ส่งสินค้าก่อน แล้วยังไม่ได้รับการจ่ายเงินจากลูกค้าภายใน 30 วันนับจากวันที่ทำการส่งของ 

ขายของไม่ได้เงิน ได้รับสลิปเงินปลอม

3.1 ได้รับสลิปเงินปลอม

เมื่อลูกค้าแจ้งว่า โอนเงินแล้วส่งสลิป (ปลอม) ให้แม่ค้า อย่าเพิ่งไว้ใจ เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อต้องเสียของแล้วไม่ได้เงินเสียทั้งของสูญทั้งเงิน กำไรหดทุนหาย เช็คให้ชัวร์ดูยอดเงินในบัญชีด้วยว่า มีเงินเข้ามาจริงๆ หรือเปล่า

กรณีตัวอย่างที่ได้รับความคุ้มครอง

3.2 โดนหลอกให้ส่งสินค้า

กรณีตัวอย่างที่ได้รับความคุ้มครอง

3.3 ขายของไม่ได้เงิน

กรณีตัวอย่างที่ได้รับความคุ้มครอง

3.4 SMS การจ่ายเงินปลอม

กรณีตัวอย่างที่ได้รับความคุ้มครอง

สอบถาม